วันจันทร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

บที่ 1 โปรแกรมแรก

เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมภาษา php เบื้องต้น

<?...?>      = Tag ในคำสั่ง php

print      = แสดงคำพูดในเครื่องหมาย "..."; ไม่มีการคำนวนค่า เช่น print "...";

echo      = แสดงคำพูดและการคำนวนในเครื่องหมาย "...", x +,-,*,/ y; เช่น echo "...", x+ y;

\      = ไว้คั่นคำสั่ง "..." เพือแสดงเครื่องหมายเช่น echo , print "\"..."\ "; หรือ "\$";

\n      = ไว้ขึ้นบรรทัดใหม่ใน Source แต่ไม่แสดงผลบนบราวเซอร์ เช่น print , echo "\n";

#,//      = คำสั่งสำหรับห้ามทำการแสดงผลของคำสั่งวางไว้หน้าคำสั่ง echo , print เช่น #,// echo , print "...";
      หรือการใช้ /* เพื่อเริ่มต้น และ */ เพื่อถึงจุดที่กำหนดไว้ เช่น /*...*/

$... = "...";      = เป็นค่าแสดงตัวแปร เช่น $... = "...";  , การแสดงผลเช่น print , echo "... $...";
         (สามารถคำนวนผลได้ เช่น $... +1 หรือ ++ และ $... -1 หรือ $... --)

$a

  • = "...";   = เป็นตัวแปรไว้เก็บค่าหลายๆๆ ค่า
  • หมายถึง ลำดับของตัวแปร 1,2,3,... และสามารถนำมาคำนวนได้เช่น "a[0] + a[1] + a[2]";


%      = เป็นตัวแปรในการหารแต่เอาแค่เศษ เช่น echo $1 % $2; หรือ echo 100 % 250;

เงื่อนไข      =   >   มากกว่า
         <   น้อยกว่า
         >=   มากกว่าหรือเท่ากัน
         <=   น้อยกว่าหรือเท่ากัน
         ==   เท่ากัน
         !=   ไม่เท่ากัน

if      = เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบว่าผลของการเปรียบเทียบว่าจริงหรือเท็จ อยู่ในรูปแบบ
      if ( การเปรียบเทียบเช่น x >,<,>=,<=,==,!= y )
      {
         ถ้าจริงให้โปรแกรมเขียนอยู่ในนี้
         โปรแกรม ....
         โปรแกรม ....
      }
         ถ้าไม่จริงให้โปรแกรมเขียนอยู่ในนี้
         โปรแกรม ....
         โปรแกรม ....

else      = เป็นคำสั่งที่จะใช้ร่วมกับ if แต่ใช้ตรงกันข้ามกันมีรูปแบบดังนี้
      
      if (การเปรียบเทียบ)
      {
         ถ้าจริงให้โปรแกรมเขียนอยู่ในนี้
         โปรแกรม ....
         โปรแกรม ....

      }
      else
      {
         ถ้าไม่จริงให้โปรแกรมเขียนอยู่ในนี้
         โปรแกรม ....
         โปรแกรม ....

      }
              
      และสามารถใช้ if และ else กับการเปรียบเทียบได้ เช่น กำหนด $weight = 50;
      if ($weight > 25)
      {
         print "คุณผอมไปนะ";
      }
      else
      {
         print "คุณอ้วนไป";
      }

and (&&)   = การใช้คำสั่ง if แบบมีช่วงโดยการใช้คำสั่ง and เช่น กำหนด   $score = 90;
   print "ได้เกรด $score
";

   if ( $score >= 80 && $score <= 100)
   {

      print "ได้เกรด A";
   }
   print "
จบการตัดเกรด";
      
#   คือมีคะแนนระหว่าง 80 ถึง 100 ถึงจะแสดงผล ได้เกรด A

   การเปรียบเทียบหลายค่าเช่น  กำหนด   $score = 53;
   print "ได้เกรด $score
";

   if ( $score >= 80 && $score <= 100) {

      print "ได้เกรด A";
   }
   if ( $score >= 70 && $score <= 79) {

      print "ได้เกรด B";
   }   
   if ( $score >= 60 && $score <= 69) {

      print "ได้เกรด C";
   }
   if ( $score < 60) {

      print "ได้เกรด <font color=red>F</font>";
   }
   print "
จบการตัดเกรด";

or (||)   = ตรวจสอบค่า $... ในช่องใดช่องหนึ่ง เช่น กำหนด   $user = adicia;   $pass = istrator;
   if ( $user =="" || $pass=="" ) {
      print "กรุณาอย่าให้เป็นช่องว่าง";
   }
   else {
      print "Username คือ $user
";
      print "Password คือ $pass
";
   }

for   = การใช้คำสั่งในการกระทำซ้ำไปซ้ำมา มี 3 คำสั่ง 1. for 2. while 3. do..while
   1. for มีรูปแบบดังนี้
      for ($for = x;$for < y;$for ++)  
#   x คือค่าเริ่มต้น y คือค่าสุดท้าย -1
      {
         print "...";
      }
   2. while
      $while = 1;
         while ( $while < y ) 
#   ถ้า $while น้อยกว่า y
      {
         print "$while = ...
";
         $while ++;
#   ถ้า ++ นำเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และถ้า -- จะลดค่าลงเรื่อยๆ
      }
   3. do...while
      $while = x;
      do
      {
         print "$while = ...
";
         $while --;
      }
      while ( $while > y );
      print "End";
#   กระทำ do เลยแล้วมาตรวจสอบ ค่า while

Function   = รูปแบบ
      function Name ( )
#   ชื่อของ function
      {

      }
      Name();

Parameter   = รูปแบบ
      function Name ( $parameter )
#   ชื่อของ function 
      {
         echo "Name = ",3.14 * $parament * $parament,"
";
      }
      Name( x );
#   x คือจำนวนตัวเลข
#   อาจจะใช้ if ช่วยตรวจสอบ
      function Name ( $parameter )
#   ชื่อของ function 
      {
         if ( $parameter >=0 )
         {
         echo "Name = ",3.14 * $parament * $parament,"
";   
         }
         else
         {
            echo "ค่าที่ใช้ต้องมีค่ามากกว่า <font color=red>0</font> นะครับ";
         }
      }
      Name( x );
#   สามารถใช้ Function ได้ในทุกสถานที่มีรูปแบบดังนี้
      <?
# Name ชื่อ      Name( x );
      ?>
#   หรือเรียก Function จากไพล์อื่นโดย
      <?
         require "ที่อยู่ของไพล์ function";
         Name ( x );
      ?>

บทที่ 18 การเข้าถึงข้อมูลใน array ด้วย for each


 class ForIn {
public static void main(String[] args) {
int [] i = {1,3,4,5,6,4,0,8,9};
for (int data : i){
System.out.println(data);
}
}
}



บทที่ 17 การใช้งาน array ที่ซ้อนกัน

การสร้าง Array ซ้อนกัน  แบบการประกาศตัวแปรพร้อมกับกำหนดค่า


เรามาเริ่มลุยกันเลยดีกว่า  นะครับ  ?



class ComlexArray {
public static void main (String[] args) {
// การสร้าง Array ซ้อนกัน แบบการประกาษตัวแปรพร้อมกับกำหนดค่า
int [][] a={
{1,2,3},
{4,5,6},
{7,8,9},
};
// การสร้าง Array ซ้อนกัน แบบการประกาศตัวแปรไว้ก่อนแล้วมากำหนดค่าภายหลัง
int [][] b=new int[2][2];
b[0] = new int [] {1,2,3};
b[1] = new int [] {4,5,6};
}
}


บททที่ 16 การใช้งานตัวแปร array



การใช้งานตัวแปร array
คือตัวแปรที่เก็บข้อมูลเป็นชุด และมี index เป็นตัวชี้ การประกาศตัวแปรแบบ Array ทำได้ดังนี้


Type[] variable name={ค่าเริ่มต้น};
เช่น
       int []a={10,20,30};


การสร้าง Array เเล้วเก็บค่าเลย   เรามาดูกันเลย ok



 class Array {
public static void main(String[] args) {
/* int i = 10;
int j = 20;
int k = 30;
*/
//หากว่าผมเขียนโปรแกรมเก็บตัวแแปร 1000 ตัว  ผมคงเขียนโปรแกรมไม่ไหวแน่
// เพราะฉนั้นจึงมี Array เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา เรามารู้จัก การสร้าง Array กับการเก็บค่ากันดีกว่า
 
int[] i={10,20,30,40,50};  //การสร้าง Array แล้วเก็บค่าเลย
int[] j=new int[5]; //การสร้าง Array มารอเก็บค่า
 
// ต่อไปมาดูการสร้าง Array 2 มิติ
 
int [][] k=new int[2][2];
k[0][0]=1;
k[1][0]=2;
k[1][1]=3;
k[0][1]=4;  
 
}
}

บทที่ 15 การทำซ้ำด้วย do while


 class Do {
public static void main (String[] args) {
int x = 0;
 
do {
System.out.println(x);
x++;
}while (x>=5);  
//  ขออธิบายนิดนึงนะครับเกี่ยวกับ loop do while
//  การทำงานของ loop do while ถ้าหากว่าเงื่อนไขที่เราตั้งเป็นจริงมันก็จะทำงาน
//  เเต่ถ้าเงื่อนไขไม่เป็นจริงมันก็จะทำงานในรอบที่ 1 ก่อนเสมอ
// จากตัวอย่างแน่นอนว่า เราตั้งให้ (x<=5) ซึ้งเป็นจริงก็จะ print 0,1,2,3,4,5
// แต่หากว่าเราตั้ง เงื่อนไขไหม เช่น (x>=5) ซึ่งแน่นอนผลลัพธ์ของเราก็คือ '0'
}
}


บทที่ 14 การทำซ้ำด้วย while


class While {
public static void main (String[] args) {
int x = 0;
while (x<=20) {
System.out.println(x);
x++;

}
}
}


บทที่ 13 การทำซ้ำด้วย for

// ให้ print 1-10

class For { 
public static void  main (String[] args) {
for (int i=1; i<=10; i++) {
System.out.println(i);
  }
}
}



//ให้แสดง 10-1

class For { 
public static void  main (String[] args) {
/*
for (int i=1; i<=10; i++) {
System.out.println(i);    //ให้แสดง 1-10
  }
*/
for (int i=10; i>=1; i--) {
System.out.println(i);
}
}
}




// แสดงเลข คู่

class For { 
public static void  main (String[] args) {
/*  คอมเม้นเริ่มต้น
for (int i=1; i<=10; i++) {
System.out.println(i);    //ให้แสดง 1-10
  }
*/ //  คอมเม้นสิ้นสุด
/* คอมเม้นเริ่มต้น
for (int i=10; i>=1; i--) {
System.out.println(i); //ให้แสดง 10-1
}
*/ //   คอมเม้นสิ้นสุด
// ให้แสดงเลขคู่
for (int i=0; i<=10; i+=2) {
System.out.println(i);
//กำหนดให้   i=0
//ถ้า             if i<=10
//ให้แสดง      print i
//จบการทำงานของคำสั่ง if    end  
//ให้  i  ทำอะไรต่อ  ก็ให้      i=i+2
//ดังนั้น     i=2                     จบการทำงานรอบที่ 1
//ต่อไปเริ่มต้นรอบที่ 2
// ให้  i=2
// if 2<=10
// print i
// จบการทำงานในรอบที่ 2   จะวนรอบการทำงานอย่างนี้ไปเรื่อยๆจนครบค่าที่เราได้กำหนดเอาไว้
}
}
}




// ให้ลดค่าลงทีละสอง


class For { 
public static void  main (String[] args) {
/*  คอมเม้นเริ่มต้น
for (int i=1; i<=10; i++) {
System.out.println(i);    //ให้แสดง 1-10
  }
*/ //  คอมเม้นสิ้นสุด
/* คอมเม้นเริ่มต้น
for (int i=10; i>=1; i--) {
System.out.println(i); //ให้แสดง 10-1
}
*/ //   คอมเม้นสิ้นสุด
/*
// ให้แสดงเลขคู่
for (int i=0; i<=10; i+=2) {
System.out.println(i);
//กำหนดให้   i=0
//ถ้า             if i<=10
//ให้แสดง      print i
//จบการทำงานของคำสั่ง if    end  
//ให้  i  ทำอะไรต่อ  ก็ให้      i=i+2
//ดังนั้น     i=2                     จบการทำงานรอบที่ 1
//ต่อไปเริ่มต้นรอบที่ 2
// ให้  i=2
// if 2<=10
// print i
// จบการทำงานในรอบที่ 2   จะวนรอบการทำงานอย่างนี้ไปเรื่อยๆจนครบค่าที่เราได้กำหนดเอาไว้
}
*/
//  ให้ลดลงทีละ 2  มาดุกันต่อนะครับ
for (int i=10; i>=0; i-=2){
System.out.println(i);
}


}
}



// หากว่าเป็นเลข  คี่ เราจะทำอย่างไร   มาดูต่อกันเลยคับผม


class For { 
public static void  main (String[] args) {
/*  คอมเม้นเริ่มต้น
for (int i=1; i<=10; i++) {
System.out.println(i);    //ให้แสดง 1-10
  }
*/ //  คอมเม้นสิ้นสุด
/* คอมเม้นเริ่มต้น
for (int i=10; i>=1; i--) {
System.out.println(i); //ให้แสดง 10-1
}
*/ //   คอมเม้นสิ้นสุด
/*
// ให้แสดงเลขคู่
for (int i=0; i<=10; i+=2) {
System.out.println(i);
//กำหนดให้   i=0
//ถ้า             if i<=10
//ให้แสดง      print i
//จบการทำงานของคำสั่ง if    end  
//ให้  i  ทำอะไรต่อ  ก็ให้      i=i+2
//ดังนั้น     i=2                     จบการทำงานรอบที่ 1
//ต่อไปเริ่มต้นรอบที่ 2
// ให้  i=2
// if 2<=10
// print i
// จบการทำงานในรอบที่ 2   จะวนรอบการทำงานอย่างนี้ไปเรื่อยๆจนครบค่าที่เราได้กำหนดเอาไว้
}
*/
//  ให้ลดลงทีละ 2  มาดุกันต่อนะครับ
/*
for (int i=10; i>=0; i-=2){
System.out.println(i);
}
*/
// ต่อไปหากว่าเป็นเลข คี่ เราจะทำยังไง  มาดูต่อกันเลยครับผม
for (int i=1; i<=9; i+=2) {
System.out.println(i);
}
}
}




// เรียงจากมากไปหาน้อย


class For {
public static void  main (String[] args) {
/*  คอมเม้นเริ่มต้น
for (int i=1; i<=10; i++) {
System.out.println(i);    //ให้แสดง 1-10
  }
*/ //  คอมเม้นสิ้นสุด
/* คอมเม้นเริ่มต้น
for (int i=10; i>=1; i--) {
System.out.println(i); //ให้แสดง 10-1
}
*/ //   คอมเม้นสิ้นสุด
/*
// ให้แสดงเลขคู่
for (int i=0; i<=10; i+=2) {
System.out.println(i);
//กำหนดให้   i=0
//ถ้า             if i<=10
//ให้แสดง      print i
//จบการทำงานของคำสั่ง if    end
//ให้  i  ทำอะไรต่อ  ก็ให้      i=i+2
//ดังนั้น     i=2                     จบการทำงานรอบที่ 1
//ต่อไปเริ่มต้นรอบที่ 2
// ให้  i=2
// if 2<=10
// print i
// จบการทำงานในรอบที่ 2   จะวนรอบการทำงานอย่างนี้ไปเรื่อยๆจนครบค่าที่เราได้กำหนดเอาไว้
}
*/
//  ให้ลดลงทีละ 2  มาดุกันต่อนะครับ   เป็นการเรียงจากน้อยไปหามาก
/*
for (int i=10; i>=0; i-=2){
System.out.println(i);
}
*/
// ต่อไปหากว่าเป็นเลข คี่ เราจะทำยังไง  มาดูต่อกันเลยครับผม
/*
for (int i=1; i<=9; i+=2) {
System.out.println(i);
}
*/
//เรียงจากมากไปหาน้อย  ลุยกันต่อเลยครับ
for (int i=9; i>=0; i-=2) {
System.out.println(i);
}
}
}


วันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

บที่ 12 การใช้ switch


class Switch {
public static void main(String[] args){
int x = 30;

switch (x) {
case 20 :
System.out.println("condition 1");
break;
case 30 :
System.out.println("condition 2");
break;
case 40 :
System.out.println("condition 3");
break;
default :
System.out.println("con1,con2,con3,");
}
}


}





บทที่ 11 การใช้ if else if


class ifelseif {
public static void main(String[] args){
int x = 50;

if (x==50){
System.out.println("print joop");
}else if (x==60){
System.out.print("print joop 2");
}else if (x==70){
System.out.print("print joop 3");
}else{
System.out.print("hello java");

}

}
}



บทที่ 10 การใช้ if else


public class ifelesif2 {
public static void main(String[] args){
int x = 3;
 
if (x==3){
System.out.println("true");
}else{
System.out.println("false");
}
}


}





บทที่ 9 การใช้ if ซ้อน if


class if2 {
public static void main(String[] args){
int a = 51;

if (a>0 && a<100){
if (a==51) {
System.out.println("print ok");
}else if (a==5){
System.out.println("print ok2");
}
}else {
System.out.println("Mr.Preecha Prueprang");
}
}
}




วันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

บทที่ 8 การใช้ if

if ?
if ก็คือ การเขียนโปรแกรมให้คิดเป็น ตัดสินใจเป็น  รู้ว่าอะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ

ตัวอย่าง

public class IF {
public static void main(String[] args) {
int x = 4;

if (x == 4){
System.out.println("x==4 true");
}
System.out.println("hello");
}


}


วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

บทที่ 7 ตัวดำเนินการแบบ รวบรัด


/*class ShotOper2 {
public static void main(String[] args){
int x = 3;
// +, -, *, /, %
x = x+3;   // หมายความว่า   x = 3+3  :: 6

System.out.println(x);   // แน่นอนผลลัพธ์ที่ได้ คือ 6 !
}
}
*/
//หากว่าเราเขียนเหมือนข้างบนแน่นอนครับว่ามันยุ่งยากเพราะว่า เก็บค่าตัวแปรยาวเกินไป
//ลองเขียนใหม่ดูดีกว่า
class ShotOper2 {
public static void main (String[] args){
int x = 10;
int y = 3;

System.out.println("x+ =y:" +(x+=y));
System.out.println("x- =y:" +(x-=y));
System.out.println("x* =y:" +(x*=y));
System.out.println("x/ =y:" +(x/=y));
System.out.println("x% =y:" +(x%=y));
System.out.println("x++ : " +(x++));
System.out.println("x-- : " +(x--));
System.out.println("++x : " +(++x));
System.out.println("--x : " +(--x));

}
}




บทที่ 6 การใช้ตัวดำเนินการ


public class ShotOper {
public static void main (String[] args) {
int x = 3;
++x;
--x;
// ++, --
//x++;
//x--;
System.out.println(x++);
System.out.println(x--);
System.out.println(x);
System.out.println(x+x);
}
}



/*  การใช้ตัวดำเนินการแบบ เพิ่มค่าขึ้นทีละหนึ่ง ก็ คือ x++,  x--